หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง

โครงสร้าง หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563

ประเภทวิชาประมง

สาขาวิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ   สาขางานเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ 

ผู้สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563  ประเภทวิชาประมง สาขาวิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ  จะต้องศึกษารายวิชาจากหมวดวิชาต่าง ๆ  รวมไม่น้อยกว่า  84 หน่วยกิต  และเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร   ดังโครงสร้างต่อไปนี้

1. หมวดวิชาทักษะชีวิต ไม่น้อยกว่า 21 หน่วยกิต
    1.1 กลุ่มทักษะภาษาและการสื่อสาร (ไม่น้อยกว่า  9  หน่วยกิต)
    1.2 กลุ่มทักษะการคิดและการแก้ปัญหา (ไม่น้อยกว่า  6  หน่วยกิต)
    1.3 กลุ่มทักษะทางสังคมและการดำรงชีวิต (ไม่น้อยกว่า  6  หน่วยกิต)
2. หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ ไม่น้อยกว่า 57 หน่วยกิต
    2.1 กลุ่มทักษะวิชาชีพพื้นฐาน (15  หน่วยกิต)
    2.2 กลุ่มทักษะวิชาชีพเฉพาะ (21  หน่วยกิต)
    2.3 กลุ่มทักษะวิชาชีพเลือก (ไม่น้อยกว่า  13  หน่วยกิต)
    2.4 ฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพ (4  หน่วยกิต)
    2.5 โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ (4  หน่วยกิต)
3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต 
4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร  (2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์)


รวม ไม่น้อยกว่า  84  หน่วยกิต 

โครงสร้างนี้สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ  (ปวช.) ในประเภทวิชาประมงสาขาวิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำและประเภทวิชาเกษตรกรรม  สาขาวิชาเกษตรศาสตร์  สาขางานผลิตสัตว์น้ำหรือเทียบเท่า

สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาหรือสาขาวิชาอื่น หรือมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม. 6) หรือเทียบเท่า ที่ไม่มีพื้นฐานวิชาชีพ จะต้องเรียนรายวิชาปรับพื้นฐาน วิชาชีพ ต่อไปนี้

รหัสวิชา  ชื่อวิชา ท-ป-น
30600-0001 ชีววิทยาสัตว์น้ำ 2-2-3
30600-0002 การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเบื้องต้น 2-2-3
30600-0003 การจัดการผลผลิตจากการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ 2-2-3
30600-0004 สุขอนามัยฟาร์มในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ 2-2-3

ประเภทวิชาเกษตรกรรม

สาขาวิชาพืชศาสตร์   สาขางานพืชสวน

ผู้สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563  ประเภทวิชา เกษตรกรรม สาขาวิชาพืชศาสตร์ จะต้องศึกษารายวิชาจากหมวดวิชาต่าง ๆ  รวมไม่น้อยกว่า 83 หน่วยกิต  และเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร   ดังโครงสร้างต่อไปนี้

1. หมวดวิชาทักษะชีวิต  ไม่น้อยกว่า 21 หน่วยกิต
    1.1 กลุ่มทักษะภาษาและการสื่อสาร (ไม่น้อยกว่า  9  หน่วยกิต)
    1.2 กลุ่มทักษะการคิดและการแก้ปัญหา (ไม่น้อยกว่า  6  หน่วยกิต)
    1.3 กลุ่มทักษะทางสังคมและการดำรงชีวิต (ไม่น้อยกว่า  6  หน่วยกิต)
2. หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ ไม่น้อยกว่า 56 หน่วยกิต
    2.1 กลุ่มทักษะวิชาชีพพื้นฐาน (15  หน่วยกิต)
    2.2 กลุ่มทักษะวิชาชีพเฉพาะ (21  หน่วยกิต)
    2.3 กลุ่มทักษะวิชาชีพเลือก (ไม่น้อยกว่า  12  หน่วยกิต)
    2.4 ฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพ  (4  หน่วยกิต)
    2.5 โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ (4  หน่วยกิต)
3. หมวดวิชาเลือกเสรี  ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร (2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์) 


รวม ไม่น้อยกว่า    83  หน่วยกิต 

โครงสร้างนี้สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ  (ปวช.) ในประเภทวิชาเกษตรกรรม  สาขาวิชาเกษตรศาสตร์  หรือเทียบเท่า

สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาหรือสาขาวิชาอื่น หรือมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม. 6) หรือเทียบเท่า ที่ไม่มีพื้นฐานวิชาชีพ จะต้องเรียนรายวิชาปรับพื้นฐาน วิชาชีพ ต่อไปนี้

รหัสวิชา  ชื่อวิชา ท-ป-น
30500-0001 หลักการเกษตร 1-2-2
30500-0002 หลักพืชกรรม 1-2-2
30500-0004 ช่างเกษตรเบื้องต้น 1-3-2
30500-0005 แทรกเตอร์และเครื่องจักรกลเกษตร 1 1-3-2
30500-0006 อุตสาหกรรมเกษตรเบื้องต้น 2-0-2
30500-0008 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 2-0-2

สาขาวิชาสัตวศาสตร์  สาขางานการผลิตสัตว์

ผู้สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563  ประเภทวิชา เกษตรกรรม สาขาวิชาพืชศาสตร์ จะต้องศึกษารายวิชาจากหมวดวิชาต่าง ๆ  รวมไม่น้อยกว่า 83 หน่วยกิต  และเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร   ดังโครงสร้างต่อไปนี้

1. หมวดวิชาทักษะชีวิต  ไม่น้อยกว่า 21 หน่วยกิต
    1.1 กลุ่มทักษะภาษาและการสื่อสาร  (ไม่น้อยกว่า  9  หน่วยกิต)
    1.2  กลุ่มทักษะการคิดและการแก้ปัญหา  (ไม่น้อยกว่า  6  หน่วยกิต)
    1.3 กลุ่มทักษะทางสังคมและการดำรงชีวิต (ไม่น้อยกว่า  6  หน่วยกิต)
2. หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ  ไม่น้อยกว่า 56 หน่วยกิต
    2.1 กลุ่มทักษะวิชาชีพพื้นฐาน (15  หน่วยกิต)
    2.2 กลุ่มทักษะวิชาชีพเฉพาะ (21  หน่วยกิต)
    2.3 กลุ่มทักษะวิชาชีพเลือก (ไม่น้อยกว่า  12  หน่วยกิต)
    2.4  ฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพ (4  หน่วยกิต)
    2.5 โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ (4  หน่วยกิต)
3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต 
4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร (2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์) 


รวม ไม่น้อยกว่า 83 หน่วยกิต 

โครงสร้างนี้สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ  (ปวช.) ในประเภทวิชาเกษตรกรรม  สาขาวิชาเกษตรศาสตร์  หรือเทียบเท่า

สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาหรือสาขาวิชาอื่น หรือมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม. 6) หรือเทียบเท่า ที่ไม่มีพื้นฐานวิชาชีพ จะต้องเรียนรายวิชาปรับพื้นฐาน วิชาชีพ ต่อไปนี้

รหัสวิชา ชื่อวิชา ท-ป-น
30500-0003 หลักการเลี้ยงสัตว์ 1-2-2
30500-0004 ช่างเกษตรเบื้องต้น 1-3-2
30500-0006 อุตสาหกรรมเกษตรเบื้องต้น 2-0-2
30500-0007 ปฏิบัติงานเกษตร  0-4-2
30500-0008 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 2-0-2
30500-0009 หลักเศรษฐศาสตร์เกษตร 1-2-2

สาขาวิชาอุตสาหกรรมเกษตร   สาขางานอุตสาหกรรมเกษตร

ผู้สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชาคหกรรม สาขาวิชาอุตสาหกรรมเกษตร  จะต้องศึกษารายวิชาจากหมวดวิชาต่าง ๆ รวมไม่น้อยกว่า 83 หน่วยกิต  และเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร ดังโครงสร้างต่อไปนี้

1. หมวดวิชาทักษะชีวิต  ไม่น้อยกว่า 21 หน่วยกิต
    1.1 กลุ่มทักษะภาษาและการสื่อสาร (ไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต)
    1.2 กลุ่มทักษะการคิดและการแก้ปัญหา (ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต)
    1.3 กลุ่มทักษะทางสังคมและการดํารงชีวิต (ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต)
2.หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ       ไม่น้อยกว่า 56 หน่วยกิต
    2.1  กลุ่มทักษะวิชาชีพพื้นฐาน (15 หน่วยกิต)
    2.2 กลุ่มทักษะวิชาชีพเฉพาะ (21 หน่วยกิต)
    2.3 กลุ่มทักษะวิชาชีพเลือก (ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต)
    2.4 ฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพ (4 หน่วยกิต)
    2.5 โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ (4 หน่วยกิต)
3. หมวดวิชาเลือกเสรี  ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร (2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์)


รวม ไม่น้อยกว่า            83          หน่วยกิต

โครงสร้างนี้สําหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ในประเภทวิชาคหกรรม หรือเทียบเท่า

สําหรับผู้สําเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาหรือสาขาวิชาอื่น หรือมัธยมศึกษาตอนปลาย ( ม. 6) หรือเทียบเท่า ที่ไม่มีพื้นฐานวิชาชีพ จะต้องเรียนรายวิชาปรับพื้นฐานวิชาชีพ ตอ่ไปนี้

รหัสวิชา ชื่อวิชา ท-ป-น
30400-0006 การประกอบอาหาร 1-4-3
30400-0007 การถนอมอาหารเบื้องต้น 1-4-3
30400-0008 การบริการอาหารและเครื่องดื่ม 1-3-2
30400-0009 การสุขาภิบาลอาหาร 2-0-2
30400-0010 อาชีวอนามัยและความปลอดภัยในงานอาหาร 2-0-2

สาขาวิชาสาขาวิชาเทคโนโลยีภูมิทัศน์    สาขางานสาขาวิชาเทคโนโลยีภูมิทัศน์    หลักสูตรทวิภาคี

ผู้สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563   ประเภทวิชา เกษตรกรรม สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ จะต้องศึกษารายวิชาจากหมวดวิชาต่าง ๆ  รวมไม่น้อยกว่า 83 หน่วยกิต  และเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร   ดังโครงสร้างต่อไปนี้

1. หมวดวิชาทักษะชีวิต ไม่น้อยกว่า 21 หน่วยกิต
    1.1 กลุ่มทักษะภาษาและการสื่อสาร (ไม่น้อยกว่า  9  หน่วยกิต)
    1.2 กลุ่มทักษะการคิดและการแก้ปัญหา (ไม่น้อยกว่า  6  หน่วยกิต)
    1.3 กลุ่มทักษะทางสังคมและการดำรงชีวิต (ไม่น้อยกว่า  6  หน่วยกิต)
2. หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ ไม่น้อยกว่า 56 หน่วยกิต
    2.1 กลุ่มทักษะวิชาชีพพื้นฐาน  (15  หน่วยกิต)
    2.2  กลุ่มทักษะวิชาชีพเฉพาะ (21  หน่วยกิต)
    2.3 กลุ่มทักษะวิชาชีพเลือก (ไม่น้อยกว่า  12  หน่วยกิต)
    2.4 ฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพ (4  หน่วยกิต)
    2.5  โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ (4  หน่วยกิต)
3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร  (2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์)

 

รวม ไม่น้อยกว่า  83 หน่วยกิต 

โครงสร้างนี้สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ  (ปวช.) ในประเภทวิชาเกษตรกรรม  สาขาวิชาเกษตรศาสตร์  หรือเทียบเท่า

สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาหรือสาขาวิชาอื่น หรือมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม. 6) หรือเทียบเท่า ที่ไม่มีพื้นฐานวิชาชีพ จะต้องเรียนรายวิชาปรับพื้นฐาน วิชาชีพ ต่อไปนี้

รหัสวิชา ชื่อวิชา ท-ป-น
30500-0002 หลักพืชกรรม 1-2-2
30500-0004 ช่างเกษตรเบื้องต้น 1-3-2
30500-0005 แทรกเตอร์และเครื่องจักรกลเกษตร 1 1-3-2
30500-0007 ปฏิบัติงานเกษตร 0-4-2
30500-0008 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 2-0-2
30500-0010 ธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ 1-2-2

สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ สาขางานเกษตรศาสตร์ (เทียบโอนความรู้และประสบการณ์)

ผู้สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563   ประเภทวิชา เกษตรกรรม สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ จะต้องศึกษารายวิชาจากหมวดวิชาต่าง ๆ  รวมไม่น้อยกว่า 83  หน่วยกิต  และเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร   ดังโครงสร้างต่อไปนี้

1. หมวดวิชาทักษะชีวิต ไม่น้อยกว่า 21 หน่วยกิต
    1.1 กลุ่มทักษะภาษาและการสื่อสาร (ไม่น้อยกว่า  9  หน่วยกิต)
    1.2 กลุ่มทักษะการคิดและการแก้ปัญหา  (ไม่น้อยกว่า  6  หน่วยกิต)
    1.3 กลุ่มทักษะทางสังคมและการดำรงชีวิต (ไม่น้อยกว่า  6  หน่วยกิต)
2. หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ ไม่น้อยกว่า 56 หน่วยกิต
    2.1 กลุ่มทักษะวิชาชีพพื้นฐาน (15  หน่วยกิต)
    2.2 กลุ่มทักษะวิชาชีพเฉพาะ (21  หน่วยกิต)
    2.3 กลุ่มทักษะวิชาชีพเลือก (ไม่น้อยกว่า  12  หน่วยกิต)
    2.4 ฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพ  (4  หน่วยกิต)
    2.5 โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ  (4  หน่วยกิต)
3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร  (2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์)


รวม ไม่น้อยกว่า  83 หน่วยกิต 

โครงสร้างนี้สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ  (ปวช.) ในประเภทวิชาเกษตรกรรม  สาขาวิชาเกษตรศาสตร์  หรือเทียบเท่า

สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาหรือสาขาวิชาอื่น หรือมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม. 6) หรือเทียบเท่า ที่ไม่มีพื้นฐานวิชาชีพ จะต้องเรียนรายวิชาปรับพื้นฐาน วิชาชีพ ต่อไปนี้

รหัสวิชา ชื่อวิชา ท-ป-น
30500-0002 หลักพืชกรรม 1-2-2
30500-0003 หลักการเลี้ยงสัตว์ 1-2-2
30500-0004 ช่างเกษตรเบื้องต้น 1-3-2
30500-0005 แทรกเตอร์และเครื่องจักรกลเกษตร 1 1-3-2
30500-0008 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย  2-0-2
30500-0010 ธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ 1-2-2

Start typing and press Enter to search

Shopping Cart